Little Known Facts About ไก่ชน ไทย.
Little Known Facts About ไก่ชน ไทย.
Blog Article
๒.๑ เขียวหางขาว คือไก่เขียวที่มีขนตามตัวสีดำ ขนสร้อยสีเขียว ปีกขาว หางขาว เขียวบินหลา ก็เรียก ๒.๒ เขียวคอแดง คือไก่เขียวที่มีขนตามตัวสีดำ ขนสร้อยทั่วไปสีเขียวปนแดง หางดำหรือหางเขียว ๒.๓ เขียวไฟ คือไก่เขียวที่มีขนตามตัวสีดำ ขนสร้อยทั่วไปสีเขียวปนแดง ขนหางแดง (หางไฟ) ๒.๔ เขียวกา คือไก่เขียวที่มีขนตามตัวสีดำ ขนสร้อยสีเขียวดำทั่วทั้งตัว หางเขียวดำตลอดไม่มีสีอื่นแซม ๒.๕ เขียวขี้หนิม คือไก่เขียวที่มีขนตามตัวสีดำ ขนสร้อยคอ สร้อยบนหลัง สร้อยปีกสีเขียวปนสีน้ำตาลไหม้หรือสีสนิมเหล็ก หางขาวปนดำและบางตัวมีสีน้ำตาลไหม้ประที่ขนลวยอีกด้วย ๒.
ปาก แข้ง เล็บ เดือย มีสีขาวอมเหลืองเหมือนสีงาช้าง
หางบอก หรือ หางกระบอก ก็เป็นประเภทหางไก่ชนอีกประเภทหนึ่ง คือหางแน่นเป็นกำใหญ่ ไก่บางตัวมีขนหางลวยหรือหางชัยแข็งตลอดทั้งเส้น แต่บางตัวมีหางอ่อนสลับหางแข็ง โดยเฉพาะหางชัยหรือขนลวยอาจจะแข็งตลอดทั้งเส้นหรือโคนหางแข็งแต่ปลายหางอ่อนก็มี หางอ่อนชนิดนี้แหละที่อยู่ในความนิยมของนักเลงไก่ชนภาคใต้ หางบอกหรือหางกระบอกนับเป็นหางที่มีลักษณะดีอย่างหนึ่งของไก่ชน
ลูกตามีสีเหลืองอ่อน มีลักษณะตาปลาหมอ
ไก่ชนโมยี ซาโมะ : ไก่ชนสายพันธุ์ไทยที่ส่งต่อไปยังญี่ปุ่น
๑๐. แดง ไก่แดงเป็นไก่ที่มีสีตัวแดงทั้งตัว ไก่แดงพัฒนาการมาจากไก่กดนั่นเอง แต่สีไม่เหมือนไก่กดทีเดียว ไก่แดงสีแดงอ่อนกว่าไก่สีกด ซึ่งมีเส้นขนหรือสร้อยบนหลังสีม่วงดังกล่าวแล้ว
เป็นที่เคารพนับถือกันมาก โดยเฉพาะ นักเลงชนไก่ ถือว่าเป็นเจ้าพ่อสำหรับบนบานของการชนไก่
๔. คิ้ว ไก่ชนที่ดีจะต้องมีโหนกคิ้วนูนเป็นสันโค้งปิดเบ้าตาตอนบน คิ้วดังกล่าวยังเป็นเครื่องบ่งบอกถึงความทรหดอดทนของไก่ตัวนั้น คิ้วลักษณะเช่นนั้นยังเป็นเครื่องป้องกันนัยน์ตาได้ดีอีกด้วย
๓ เข็มแดง คือไก่เข็มที่มีปลายสร้อยแดง
ไก่ชนในงานประเพณี: ในบางพื้นที่ของประเทศไทย การชนไก่ถูกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานประเพณีท้องถิ่น เช่น งานบุญหรืองานวัด ทำให้การชนไก่เป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับความเชื่อและวัฒนธรรมของชุมชน
ศ.๒๕๐๔) มีอำนาจที่จะไม่อนุมัติการอนุญาตในคราวต่อไปเป็นครั้งคราวหรือตลอดไปก็ได้แล้วแต่จะเห็นสมควร
๒. ต้องช่วยกันสำรวจว่ามีบาดแผลตรงไหนบ้าง ถ้ามีบาดแผลต้องใช้เข็มเย็บผ้าและด้ายเย็บบาดแผลที่ถูกแทง เพื่อป้องกันไม่ให้ฟองอากาศเข้าไป อันจะเกิดอาการ “พองลม” แผลก็จะอักเสบ
๓. หงอน หงอนของไก่นั้นธรรมชาติได้สร้างไว้เพื่อปกปิดกะโหลกศีรษะ และเพื่อเป็นเครื่อง บ่งบอกเพศของไก่ ไก่ตัวผู้มักจะมีหงอนใหญ่กว่าไก่ตัวเมียในพันธุ์เดียวกัน (ยกเว้นไก่ทำเหมียหรือไก่กะเทย) ลูกไก่รุ่นหงอนยังเล็กยังไม่แดงจัด หงอนใหญ่เต็มที่และแดงจัดเมื่อเป็นไก่หนุ่มหรือไก่กระทง ถ้าหงอนไก่ตัวใดไม่แดงจัด หรือมีดำปนอยู่เหมือนกับรอยช้ำแสดงว่าไก่ตัวนั้นไม่สมบูรณ์ ไก่ที่สมบูรณ์จะต้องมีหงอนแดงจัดตลอดทั้งหงอน
โดยทั่วไปแล้วไก่หงอนแจ้นั้นไม่ค่อยนิยมนำมาทำเป็นไก่ชนกัน นอกจากจะมีลักษณะดีพิเศษอื่น ๆ คือมีเชิงชนดี ลำหนัก ฉลาด หรือแทงจัด ฯลฯ เพราะไก่หงอนแจ้ ถ้าไม่ชนะเร็วจะชนหลายอันเป็นชนนานไม่ได้ เพราะหนักหัวเนื่องด้วยหงอนเทอะทะนั่นเอง นานเข้า ๆ ก็มักจะก้มหัวให้คู่ต่อสู้ตีเอา ๆ ชนแพ้ไปในที่สุด ไก่หงอนแจ้ก็มีหลายชนิดเช่นกันคือไก่ชน ไทย